ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา - An Overview

บรรณาธิการ : พระมหาประหยัด ปญฺญาวโร, ดร.

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยมีทั้งปัจจัยระดับโครงสร้าง และปัจจัยระดับปัจเจกบุคคล จึงทำให้ทิศทางการศึกษาของไทยยุคใหม่มีแนวโน้มทั้งทิศบวก และทิศทางลบ ดังนี้

เมื่อไม่มีข้อมูลที่เพียงพอ ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงอาจเลือกเพิกเฉย หรือมองผ่านเรื่องคุณภาพการศึกษาที่ย่ำแย่ ขณะที่คุณครูก็ไม่รู้ขอบเขตการสอนที่แน่ชัด และไม่รู้ว่านักเรียนคนใดต้องการอะไรเป็นพิเศษหรือไม่ โดยเฉพาะในประเทศรายได้ต่ำที่คุณครูต้องสอนในชั้นเรียนขนาดใหญ่ที่มีนักเรียนหลากหลาย

ณัฐพงศ์ ศิริชนะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และอนุกรรมการการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ กสศ. กล่าวเสริมว่า การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยวิธีปกตินั้นมีความยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาด้วยระบบราชการที่ต้องได้รับการสั่งการจากข้างบน ที่เปรียบเสมือนการตัดเสื้อตัวเดียวใช้ทั้งประเทศ ในขณะที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำของแต่ละจังหวัดที่พบเจอนั้นมีความแตกต่าง

Analytical cookies are utilized to understand how guests communicate with the web site. These cookies enable deliver information on metrics the number of visitors, bounce charge, targeted visitors resource, etc. Advertisement Advertisement

Useful cookies enable to execute certain functionalities like sharing the content of the web site on social media marketing platforms, accumulate feedbacks, and also other third-social gathering characteristics. Overall performance ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Effectiveness

ทุนการศึกษา ส่งน้องเรียน สร้างเด็กดี

ทุนการศึกษา ส่งน้องเรียน สร้างเด็กดี

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ มีจํานวนเด็กและเยาวชนที่ยังอยู่ในวัยเรียนการศึกษาภาคบังคับ และมีฐานะยากจนสูงสุด

ข้อเสนอนโยบายฟื้นฟูระบบการศีกษาไทยอย่างเสมอภาคและยั่งยืน : กสศ.

เพราะฉะนั้น ความเหลื่อมล้ำในแต่ละบริบทนั้นมีความแตกต่างกัน ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเกิดจากมิติใดมิติหนึ่งเพียงอย่างเดียว ความเหลื่อมล้ำนั้นสามารถเกิดได้จากทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ หรือความเหลื่อมล้ำที่เกิดจากมิติวัฒนธรรม หรืออคติเชิงชาติพันธุ์ต่าง ๆ เป็นต้น

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นปัญหาที่อยู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน และแม้ว่าจะมีการพยายามออกนโยบายต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเด็ดขาด โดยนโยบายลดปัญหาในสถานศึกษา และแนวทางการแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีดังนี้ 

ครอบครัวเปรียบเสมือนทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการให้ความสำคัญกับการศึกษา โดยครอบครัวที่มีการดูแลเอาใจใส่ และเลี้ยงดูบุตรหลานมาอย่างมีคุณภาพ มักมีการส่งเสริม หรือแสวงหาโอกาสทางการศึกษาที่ดีให้ลูกหลาน ในทางตรงกันข้าม หากครอบครัวใดที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษา หรือไม่ได้ใส่ใจบุตรหลานมากเพียงพอ อาจมีแนวโน้มว่าบุตรหลานจะไม่ใส่ใจ และไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษา ดังนั้น การที่เด็กแต่ละคนเติบโตมาในสภาพสังคม และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจได้รับการขัดเกลาทางสังคมในด้านการให้ความสำคัญกับการศึกษาที่แตกต่างกัน

เพราะแต่ละพื้นที่มีบริบทแตกต่างกันและโครงสร้างต้นตอของปัญหาก็ไม่เหมือนกัน การแก้ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” จึงต้องแก้ที่พื้นที่

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *